วัชร- คือ
"วัชร-" อังกฤษ
วัดชะระ-
น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
- วัช ๑ ( แบบ ) น. วชะ, คอกสัตว์. ( ป. วช). ๒ วัดชะ- น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. ( ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช). ๓ น. การพูด,
- วัชร วัดชะระ- น. วชิระ. ( ส. วชฺร; ป. วชิร).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชร- ๓ ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง.
- ชรัว ชฺรัว น. ซอกเขา, หุบเขา.
- วัชรี น. พระอินทร์. (ส.).
- ชระมัว ชฺระ- (กลอน) ว. ขมุกขมัว, ยังไม่สว่าง, เช้าตรู่, มืด, เช่น ชระมัวทั่วทิศเอียง อากาศ. (นิ. นรินทร์).
- วัชระ วัดชะระ- น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
- วัชรินทร์ น. พระอินทร์. (ส. วชฺรินฺ, วชฺร + อินฺทฺร).
- วัยชรา น. วัยที่ต่อจากวัยกลางคน อายุเกิน ๖๐ ปี.
- วีลแชร์ รถเข็นผู้ป่วย เก้าอี้รถเข็น
- วัชรปาณี น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. (ส. วชฺรปาณิ).
- วัชรยาน น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. (ส.)
- วัชราสน์ น. ท่านั่งขัดสมาธิเพชร. (ส.).
- วัยแก่ชรา วัยชรา วัยแก่เฒ่า