เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

วัชฌ์ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ก. ฆ่า, ทำให้ตาย. (ป.).
  • วัช     ๑ ( แบบ ) น. วชะ, คอกสัตว์. ( ป. วช). ๒ วัดชะ- น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. ( ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช). ๓ น. การพูด,
  • มัชฌ    มัดชะ- น. ท่ามกลาง. (ป.; ส. มธฺย).
  • มัชฌ-    มัดชะ- น. ท่ามกลาง. (ป.; ส. มธฺย).
  • สัชฌ    น. เงิน. (ป.).
  • สัชฌ-    น. เงิน. (ป.).
  • สัชฌุ    น. เงิน. (ป.).
  • มัชฌันติก    มัดชันติกะ- น. เวลาเที่ยงวัน, คู่กับ วิมัชฌันติก ว่า เวลาเที่ยงคืน. (ป.).
  • มัชฌันติก-    มัดชันติกะ- น. เวลาเที่ยงวัน, คู่กับ วิมัชฌันติก ว่า เวลาเที่ยงคืน. (ป.).
  • มัชฌิม    มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-, มัดชิม- ว. ปานกลาง. (ป. มชฺฌิม).
  • มัชฌิม-    มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-, มัดชิม- ว. ปานกลาง. (ป. มชฺฌิม).
  • มัชฌิมภูมิ    -พูม น. ภูมิหรือชั้นของคนชั้นกลาง, ในคณะสงฆ์หมายถึงภิกษุที่มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาต่ำกว่า ๕, ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ, และชั้นสูง คือ เถรภูม
  • มัชฌิมวัย    มัดชิมะ-, มัดชิมมะ- น. วัยกลางคน.
  • มัชฌิมา    ว. ปานกลาง, ไม่ยิ่งไม่หย่อน, เช่น พอเป็นมัชฌิมา. (ราชา) น. นิ้วกลาง เรียกว่า พระมัชฌิมา. (ป.; ส. มธฺยมา).
  • สัชฌกร    น. ช่างเงิน. (ป.).
  • สัชฌะ    น. เงิน. (ป.).