ศาฎก คือ
-ดก
น. ผ้า. (ส. ศาฏก; ป. สาฏก).
- สาฎก สาดก น. ผ้า. (ป. สาฏก; ส. ศาฏก).
- นาฎกรรม การฟ้อนรํา การละคร
- นลาฎ n. ส่วนเบื้องบนของหน้าอยู่เหนือคิ้วขึ้นไป ชื่อพ้อง: หน้าผาก
- นาฎศิลป์ การฟ้อนรํา การร่ายรํา การรํา การเต้นรํา นาฏกรรม การลีลาศ การเต้นระบํา ศิลปการเต้นรํา
- ปิฎก น. ตะกร้า; หมวดแห่งคำสอนในพระพุทธศาสนา. (ป., ส. ปิฏก). (ดู ไตรปิฎก).
- ปรากฎการณ์ที่นอกเหนือวิทยาศาสตร์ กายสิทธิ์ คนที่ไวต่อพลังจิต สื่อวิญญาณ
- จริยาปิฎก น. ชื่อคัมภีร์ที่ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าในชาติที่ล่วงแล้ว รวมอยู่ในขุทกนิกายแห่งสุตตันตปิฎก.
- ตรีปิฎก น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งมี ๓ หมวดใหญ่ หมวดหนึ่งเรียกว่า ปิฎกหนึ่ง คือ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมซึ่งโดยมากเรียกว่า ปรมัตถ์, ใช้ว่า ไตรปิฎก ก็ได้. (ส. ตฺริปิฏก; ป. ติปิฏก ว่า ตะกร้า
- วินัยปิฎก วิไนยะปิดก, วิไนปิดก น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก.
- โตฎก -ดก น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะล้วน. (ป. โตฏก).
- ไตรปิฎก -ปิดก น. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ตรีปิฎก ก็ว่า.
- อิทธิปาฎิหาริย์ n. การปาฎิหารย์โดยฤทธิ์อำนาจ ตัวอย่างการใช้: ขณะที่พระวชิรญาณภิกขุเสด็จออกธุดงค์ยังปูชนียสถานต่างๆ ก็จะมีอิทธิปาฎิหาริย์เกิดขึ้นเสมอ
- สุตตันตปิฎก สุดตันตะปิดก น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก. (ป.).
- อัษฎกฉันท์ น. ฉันท์ปัฐยาวัต.
- คำพิพากษาฎีกา (กฎ) น. คำพิพากษาของศาลฎีกา.