เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สัชฌายะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ก. สังวัธยาย. (ป.; ส. สฺวาธฺยาย).
  • สัชฌ     น. เงิน. ( ป. ).
  • ยะ     ๑ คำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย. ๒ ว.
  • อุปัชฌายะ    อุปัดชายะ-, อุบปัดชายะ-, อุปัดชา, อุบปัดชา น. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. อุปาธฺยาย).
  • อุปัชฌาย    อุปัดชายะ-, อุบปัดชายะ-, อุปัดชา, อุบปัดชา น. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. อุปาธฺยาย).
  • อุปัชฌาย-    อุปัดชายะ-, อุบปัดชายะ-, อุปัดชา, อุบปัดชา น. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. อุปาธฺยาย).
  • อุปัชฌาย์    อุปัดชายะ-, อุบปัดชายะ-, อุปัดชา, อุบปัดชา น. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. อุปาธฺยาย).
  • พระอุปัชฌาย์    n. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา ชื่อพ้อง: อุปัชฌาย์, อุปัชฌาย, อุปัชฌายะ ตัวอย่างการใช้: มหาเถรสมาคมมีคำสั่งให้พระอุปัชฌาย์เอาใจใส่พระภิกษุสามเณรที่พระอุปัชฌาย์บวชให
  • อุปัชฌายวัตร    อุปัดชายะวัด, อุบปัดชายะวัด น. กิจที่สัทธิงวิหาริกจะต้องปฏิบัติต่ออุปัชฌาย์ของตน. (ป. อุปชฺฌายวตฺต).
  • อภิชฌา    อะพิดชา น. ความโลภ, ความอยากได้. (ป.).
  • อัชฌา    อัดชา น. กิริยาดี; นิสัยใจคอ, ความรู้จักผ่อนปรน. (ตัดมาจาก อัชฌาสัย).
  • อัชฌาศัย    -ไส (โบ) น. อัชฌาสัย.
  • อัชฌาสัย    -ไส น. กิริยาดี; นิสัยใจคอ, ความรู้จักผ่อนปรน; ใช้ว่า อัชฌา ก็มี, (โบ) อัชฌาศัย. (ป.; ส. อธฺยาศย).
  • อัชฌาจาร    -จาน น. ความประพฤติชั่ว, การล่วงมรรยาท, การละเมิดประเพณี. (ป.).
  • สัชฌ-    น. เงิน. (ป.).
  • สัชฌุ    น. เงิน. (ป.).