เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อัปกะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • อับปะ-
    ว. เล็กน้อย, นิดหน่อย. (ป. อปฺปก; ส. อลฺปก).
  • อัป     อับปะ- คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ไม่, ไร้, ไปจาก, ปราศจาก, เช่น อัปภาคย์ ว่า ไร้โชค ปราศจากโชค, อัปยศ ว่า ไร้ยศ,
  • ปก     ๑ ก. แผ่ออกคลุมเบื้องบน เช่น ตะไคร้ใบปกดิน. น. กระดาษหรือผ้าหรือหนังเป็นต้นที่หุ้มอยู่ภายนอกสมุดหรือหนังสือเป็นต้น, ใบปก ก็เรียก;
  • กะ     พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
  • จัมปกะ    จำบก (แบบ) น. ต้นจำปา เช่น จัมบกตระการกรร- ณิกาแก้วก็อยู่แกม. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
  • ปกิณกะ    ปะกินนะกะ ว. เรี่ยราย, เบ็ดเตล็ด, กระจาย, ระคนกัน, คละกัน, (มักใช้ประกอบหน้าศัพท์) เช่น ปกิณกคดี. (ป. ปกิณฺณก; ส. ปฺรกีรฺณก).
  • มาปกะ    -ปะกะ น. ผู้ก่อสร้าง. (ป.).
  • กะทือ    น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Zingiber zerumbet (L.) Smith ในวงศ์ Zingiberaceae ดอกสีเหลือง ผลกลมสีแดง เหง้าสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม ใช้ทำยาได้ เมื่ออ่อนใช้ปรุงอาหาร ช่อดอกอ่อนใช้เป็นผัก.
  • กะพล้อ    น. กระบอกตักน้ำ ปากแฉลบอย่างปากพวยกา.
  • กะพ้อ    ๑ น. กระบอกตักน้ำ ปากแฉลบอย่างปากพวยกา. ๒ น. ชื่อปาล์มขนาดย่อมในสกุล Licuala วงศ์ Palmae มีหลายชนิด เช่น ชนิด L. spinosa Thunb. มักขึ้นเป็นกออยู่ริมทะเล หรือในที่ซึ่งน้ำเค็มขึ้นถึง ลำต้นสูงถึง ๔ เมต
  • กะลิอ่อง    (ถิ่น-พายัพ) น. กล้วยน้ำว้า. (ดู น้ำว้า).
  • กะหือ    ว. เสียงครวญคราง.
  • กะเบือ    น. เรียกครกดินหรือสากที่ตำข้าวเบือว่า ครกกะเบือ สากกะเบือ. (เพี้ยนมาจาก ข้าวเบือ).
  • กะเบ้อ    (ถิ่น-พายัพ) น. ผีเสื้อกลางวัน. (ดู ผีเสื้อ ๑).
  • กะเร่อ    (ถิ่น-ปักษ์ใต้) ว. เซ่อ, เซอะ.
  • อักกะ    น. พระอาทิตย์; ต้นรัก. (ป.; ส. อรฺก).