(สังคม) คือ
- เป็นคำที่ใช้ในสังคมศาสตร์
- สัง ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นมะสัง. ( ดู มะสัง ).
- สังค สังคะ-, สัง น. ความข้องอยู่, การติดอยู่. ( ป. ; ส. สํค).
- สังคม -คมมะ- น. คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท;
- คม ๑ ก. ก้ม, คำนับ, ไหว้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงคมในความหมายว่า ทรงไหว้. (กร่อนมาจาก บังคม). ( ข. ). ๒ น. ส่วนบางมากจนสามารถบาดได้ เช่น คมมีด
- พหุสังคม สังคมพหุนิยม
- สังคม- -คมมะ- น. คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท; วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. ว. ที่เกี่ยวกับการพบปะสังส
- สังคมนิยม สังคมมะ-, สังคม- น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต.
- สังคมชนบท ้ชีวิตในชนบท
- สังคมชั้นสูง สถานภาพสังคมชั้นสูง สังคมคนร่ํารวย คนชั้นสูง ชนชั้นสูง พวกผู้ดี พวกสุภาพชน สังคมผู้มีระดับ สังคมไฮโซ
- สังคมพหุนิยม พหุสังคม
- สังคมวิทยา สังคมมะ-, สังคม- น. วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม.
- สังคมศึกษา สังคมมะ-, สังคม- น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม.
- สังคมโลก โลกียวิสัย
- สังคมไฮโซ สังคมชั้นสูง สังคมผู้มีระดับ
- คนที่สังคมรังเกียจ คนชั้นต่ํา คนนอกคอก