ชระล้ำ คือ
สัทอักษรสากล: [cha ra lam] การออกเสียง:
"ชระล้ำ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ชฺระ-
(กลอน) ก. ล้ำ. (ดุษฎีสังเวย ).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชระ ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ล้ำ ก. ล่วงเข้าไปเกินเขตที่กำหนด เช่น ล้ำเขตแดน ล้ำแดนข้าศึก. ว. ยิ่ง, ล้น, เช่น สูงล้ำ ปัญญาล้ำ.
- ชระลอ ชฺระ- (กลอน) ก. ชะลอ, พยุงให้เคลื่อนไป, ประคองไว้.
- ชระลัด ชฺระ- (กลอน) น. ทางลัดไปได้.
- ชระลั่ง ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง เช่น จงสองเจ้าอย่าได้ทะลิ่นชระลั่งคอยนั่งเฝ้าพระบาท. (ม. คำหลวง กุมาร).
- ชระลุ ชฺระ- (กลอน) ก. ปรุ, สลัก, ฉลุ.
- ชระล่อง ชฺระ- น. ทางล่อง, ซอกเขา, ลำธาร, เช่น ผู้ชระลองล่วงห้วงมหรรณพ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- ชระลอง ชฺระ- น. ทางล่อง, ซอกเขา, ลำธาร, เช่น ผู้ชระลองล่วงห้วงมหรรณพ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- ทะลิ่นชระลั่ง -ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง.
- กระละหล่ำ ก. กล้ำ, เกือบ, เช่น กระละหล่ำจกกเป็น แต่กี้. (ทวาทศมาส).
- ชรอ่ำ ชฺระ- (กลอน) ว. ชอ่ำ, มืดมัว, มืดครึ้ม, เช่น ชรอ่ำฟ้าใต้แผ่นหงาย. (แช่งน้ำ), ฟ้าหล้าเข็ดขาม ชรอื้อชรอ่ำอับทิศ. (สมุทรโฆษ).
- ชระงม ชฺระ- (กลอน) น. ป่ากว้าง, ป่าใหญ่. ว. เปลี่ยวเปล่า, เงียบสงัด, เช่น อยู่ชระงมนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
- ชระงำ ชฺระ- (กลอน) ว. คลุ้ม, มืด, งำ.