เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชรูบ คือ

สัทอักษรสากล: [cha rūp]  การออกเสียง:
"ชรูบ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ชฺรูบ
    (โบ) ว. ซูบ.
  • ชร     ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
  • รู     น. ช่อง เช่น รูเข็ม ผ้าขาดเป็นรู, ช่องที่ลึกเข้าไปในสิ่งต่าง ๆ เช่น รูหู รูจมูก รูปู รูงู.
  • ชระอับ    ชฺระ- (กลอน) ว. อับ, มืดมัว, มืดคลุ้ม.
  • บัญชร    บันชอน น. กรง, ซี่กรง; หน้าต่าง. (ป., ส. ปญฺชร).
  • ชราบชรับ    ชฺราบชฺรับ ก. ซึมซาบ.
  • ชร-    ๓ ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง.
  • เพชรกลับ    เพ็ดชะ- น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
  • บ้านพักคนชรา    บ้านพักฟื้นคนชรา สถานพักฟื้นคนชรา สถานพักฟื้นผู้สูงอายุ สถานดูแลคนชราหรือคนไม่แข็งแรง
  • บ้านพักฟื้นคนชรา    บ้านพักคนชรา สถานพักฟื้นคนชรา สถานพักฟื้นผู้สูงอายุ
  • ชระ    ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. (สมุทรโฆษ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
  • ชรัด    ชฺรัด (กลอน) ก. ซัด เช่น หมู่หนึ่งชรัดด้วยทองแดง. (ม. คำหลวง มหาราช).
  • ชรัว    ชฺรัว น. ซอกเขา, หุบเขา.
  • ชรา    ชะ- ว. แก่ด้วยอายุ, ชำรุดทรุดโทรม. (ป., ส.).
  • ชริน    ชะ- ก. ประดับ เช่น กรุงชรินไว้.
  • ชรุก    ชฺรุก (กลอน) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน. (ม. คำหลวง จุลพน).