แฉ่ คือ
"แฉ่" การใช้
- ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงฝนตกพรำ ๆ เป็นระยะ ๆ หรือเสียงที่เอาโลหะเผาไฟร้อนจุ่มลงในน้ำ.
- แฉ ๑ น. เครื่องตีชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ สำหรับตีขัดจังหวะ เล็กกว่าฉาบ. ๒ ก. แบ, ตีแผ่, เปิดเผย, เช่น แฉไพ่.
- แฉก ว. ลักษณะของสิ่งที่เป็นแผ่นและแยกออกเป็นจัก ๆ หรือเป็นทางยาว เช่น พัดแฉก ดาว ๕ แฉก ใบตาลเป็นแฉก ๆ; เรียกพัดยศพระราชาคณะ มียอดแหลมและริมเป็นจัก ๆ ว่า พัดแฉก. น. ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นแฉก ๆ
- แฉง น. กระบังศัสตราวุธ เช่น คนถือหอกแฉงปลอกทอง. (สุบิน). (ข.).
- แฉว ฉะแหฺว (โบ) ว. ที่รุ้ง, ที่คุ้ง, ที่เวิ้ง.
- แฉะ ก. เปียกหรือชุ่มน้ำอยู่เสมอ เช่น ถนนแฉะ ตาแฉะ, เปียกหรือชุ่มน้ำเกินไป เช่น ข้าวแฉะ; ไม่รีบร้อน, เฉื่อยชา, เช่น ทำงานแฉะ.
- แฉ่ง ว. ใช้ประกอบอาการของยิ้มหรือหน้าที่ร่าเริงเบิกบาน เช่น ยิ้มแฉ่ง หน้าแฉ่ง. น. เครื่องตีประกอบจังหวะทำด้วยโลหะ รูปอย่างม้าล่อ.
- ฉำแฉะ ว. เฉอะแฉะ; อืดอาดล่าช้า.
- ชื้นแฉะ ชื้น มีเหงื่อชุ่ม หมาด เย็นชืดเหมือนคนตาย เย็นชื้น เหนียวเหนอะ เปียก แฉะ โชก ชุ่มไปด้วยน้ํา
- ดังแฉ่ ฟ่อ ทําเสียงฟ่อ
- ยิ้มแฉ่ง ก. ยิ้มอย่างร่าเริงเบิกบาน.
- เป็นแฉก เป็นพู
- เสียงแฉ่ เสียงฟ่อ
- แฉก ๆ ว. ลักษณะของสิ่งที่เป็นแผ่นและแยกออกเป็นจัก ๆ หรือเป็นทางยาว เช่น พัดแฉก ดาว ๕ แฉก ใบตาลเป็นแฉก ๆ; เรียกพัดยศพระราชาคณะ มียอดแหลมและริมเป็นจัก ๆ ว่า พัดแฉก. น. ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นแฉก ๆ
- แฉลบ ๑ ฉะแหฺลบ ก. อาการของสิ่งแบน ๆ เคลื่อนเฉไปเฉมาไม่ตรงแนวทาง เช่น ว่าวแฉลบ ร่อนกระเบื้องให้แฉลบไปตามผิวน้ำ. ว. อาการที่เคลื่อนเฉไปเฉมาไม่ตรงแนวทาง เช่น นกบินแฉลบ รถวิ่งแฉลบ. ๒ ฉะแหฺลบ น. ชื่อไม้ต้น ๒
- แฉละ ฉะแหฺละ ก. แล่, เถือให้เป็นชิ้นบาง ๆ, เชือด, ชำแหละ ก็ใช้.
ประโยค
- เขายิ้มแฉ่งอย่างที่ฉันไม่เคยเห็นมาก่อนเลย
- ตอนนี้ได้ยินเสียง แฉ่ๆๆ เพียงอย่างเดียว
- ฉันสามารถแฉ่เรื่องสกปรๆของพวกคุณได้
- ช่าย วิ่งเล่นน่ะอะแหล่มแฉ่มที่สุด !
- มิลล์ใช้ดินแฉ่แข็งในแท่งน้ำแข็ง
- ลูกสาวคนเดียวฉันยิ้มแฉ่งอยู่เลย
- สไลซ์ หั่นแล้วพลิก เสียงแฉ่ๆ และกลิ่นย่างที่ห้องอาหารเบนิฮานาใกล้ๆ คุณ
- ก็ได้ แต่คุณต้องเลิกยิ้มแฉ่ง
- ทำไมยิ้มแฉ่งอย่างนั้นล่ะ
- เธอเห็นยิ้มแฉ่งนั่นมั๊ย ?
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2